Connect to DB
  หัวข้อ ทิศทางการเมืองไทย หลังกำหนดวันเลือกตั้ง
  ระเบียบวิธีการสำรวจ:
   

         การสำรวจความคิดเห็นเรื่อง “ทิศทางการเมืองไทย หลังกำหนดวันเลือกตั้ง” ใช้การสุ่มตัวอย่าง
แบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) โดยการสุ่มเขตการปกครองจำนวน 23 เขต จาก
50 เขต ของกรุงเทพมหานคร ทั้งเขตชั้นใน เขตชั้นกลาง และเขตชั้นนอก ได้แก่ เขตคลองเตย คลองสาน
ดอนเมือง ดินแดง ทวีวัฒนา บางกอกน้อย บางกะปิ  บางเขน บางคอแหลม บางนา บางรัก บึงกุ่ม ปทุมวัน
ประเวศ พญาไท พระนคร มีนบุรี ราษฎร์บูรณะ วังทองหลาง สาทร  สายไหม หนองแขม หลักสี่
ปริมณฑล 3 จังหวัดและจังหวัดที่เป็นหัวเมืองใหญ่ในแต่ละภาค ได้แก่ ขอนแก่น เชียงใหม่ สงขลา และ
ชลบุรี จากนั้นสุ่มถนนและประชากรเป้าหมายอายุ 18 ปีขึ้นไปที่ระบุว่าติดตามข่าวการเมือง ได้กลุ่มตัวอย่าง
ทั้งสิ้น 1,199 คน  เป็นเพศชายร้อยละ 52.4 และเพศหญิงร้อยละ 47.6

   
  ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล: 29 - 31 สิงหาคม 2550
  วันที่เผยแพร่ผลการสำรวจ: 4 กันยายน 2550
  สรุปผลการสำรวจ:
   
กราฟแสดงการประมวลผลข้อมูล
   
                          กราฟที่ 1: เมื่อถามกลุ่มตัวอย่างว่าสนใจติดตามข่าวสารทางการเมืองเรื่องใดมากที่สุด
หลังการทำประชามติร่างรัฐธรรมนูญ พบว่า
   

   
                          กราฟที่ 2: เมื่อสอบถามถึงความต้องการให้พรรคการเมืองหรือกลุ่มการเมืองใด
เป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาลชุดใหม่มากที่สุด พบว่า
   

   
                          กราฟที่ 3: เมื่อถามความคิดเห็นถึงการที่หัวหน้าพรรคพลังประชาชนระบุว่าตนเป็น
นอมินี (ตัวแทน) ของอดีตนายกรัฐมนตรี พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ว่าเห็นด้วยหรือไม่ พบว่า
   

   
                          กราฟที่ 4: เมื่อถามกลุ่มตัวอย่างในภาพรวมว่าการประกาศตัวเป็นนอมินี (ตัวแทน)
ของอดีตนายกรัฐมนตรี  พ.ต.ท.ทักษิณ  ชินวัตร จะมีผลให้เลือก สส. หรือพรรคพลังประชาชน
ในการเลือกตั้งครั้งต่อไปหรือไม่
   

   
                          กราฟที่ 5: เมื่อถามถึงการไปใช้สิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา (2 เมษายน 2549)
ว่าได้ลงคะแนนเสียงเลือกพรรคไทยรักไทยหรือไม่ ปรากฏว่า
   

   
                          กราฟที่ 6: โดยเมื่อพิจารณาข้อมูลเชิงลึกจากกลุ่มตัวอย่างที่ระบุว่าเลือกพรรคไทยรักไทย
ในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมาจำนวนร้อยละ 39.1 ว่าการที่หัวหน้าพรรคพลังประชาชนประกาศตัวเป็น
นอมินี (ตัวแทน) ของอดีตนายกรัฐมนตรี พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร จะมีผลต่อการเลือกพรรคพลังประชาชน
หรือไม่ พบว่า
   

   
                          กราฟที่ 7: ในขณะที่ผลการพิจารณาข้อมูลเชิงลึกของกลุ่มตัวอย่างที่ระบุว่าไม่ได้เลือก
พรรคไทยรักไทยในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมาจำนวนร้อยละ 34.9 ต่อคำถามว่าจะเลือกพรรคพลัง
ประชาชนที่หัวหน้าพรรคประกาศตัวเป็นนอมินี (ตัวแทน) ของอดีตนายกรัฐมนตรี พ.ต.ท.ทักษิณ
ชินวัตร หรือไม่ พบว่า
   

   
                          กราฟที่ 8: ความเห็นของกลุ่มตัวอย่างถึงสถานการณ์ทางการเมืองภายหลังคณะกรรมการ
การเลือกตั้ง (กกต.) กำหนดวันลงคะแนนเสียงเลือกตั้งเป็นวันที่ 23 ธันวาคม 2550 ว่าจะเปลี่ยนแปลง
ไปในทิศทางใด
   

   
                          กราฟที่ 9: เมื่อถามถึงความเชื่อมั่นว่าคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ชุดปัจจุบัน
จะสามารถจัดการเลือกตั้งให้มีความบริสุทธิ์ ยุติธรรม ได้หรือไม่ พบว่า
   

   
     
    สามารถทำการ Vote ได้วันละ 1 ครั้ง
    Vote:  ดีมาก(5) ดี (4) ปานกลาง(3) พอใช้ (2) แย่ (1)  
    Download document file:   ( ทิศทางการเมืองไทย หลังกำหนดวันเลือกตั้ง )
   
   

ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ ( Email: research@bu.ac.th )

   

โทร. 0-2350-3500 ต่อ 1776